พระสังกัจจายน์ 40"


พระสังกัจจายน์ หน้าตัก 40" ความสูง 1.46 ม.
วัสดุหล่อจากทองเหลืองหรืออัลลอยซึ่งมีข้อดีต่างกัน
1) 
พระสังกัจจายน์วัสดุหล่อจากทองเหลือง แข็งแรงทนทานต่อทุกสภาพอากาศ
2) 
พระสังกัจจายน์วัสดุหล่อจากอัลลอย น้ำหนักเบา เคลื่อนย้ายง่าย 
พระสังกัจจายน์เคลือบด้วยสีน้ำทองสุกอร่าม เปล่งประกาย ดุจทองคำแท้


(บริการจารึกชื่อให้ฟรี)
(รับประกันคุณภาพด้วยประสบการณ์กว่า 40 ปี)



ความเป็นมา พระมหากัจจายนะ (บาลี: มหากจฺจายน, สันสกฤต: มหากาตฺยายน) เป็นพระอรหันต์ 1 ใน 80 พระอสีติมหาสาวกในศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้า ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางผู้อธิบายความย่อให้พิสดาร

พระมหากัจจายนมีอีกชื่อหนึ่งว่า กัจจานะ (หรือกัจจายนะ) ในญี่ปุ่นรู้จักทั่วไปในชื่อ "คะเซ็นเน็น" (Kasennen) ส่วนในประเทศไทยนอกจากชื่อตามภาษาบาลีแล้ว ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ "พระสังกัจจายน์" หรือ "พระสังกระจาย"

พระสังกัจจายน์ มีพุทธลักษณะอ้วน พุงพลุ้ย มีความหมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ โชคลาภ เป็นหนึ่งในพระสาวกผู้ใหญ่ จัดอยู่ในเอตทัคคะ ลักษณะของพระสังกัจจายน์ โดดเด่นมองเห็นก็รู้ว่า เป็นพุทธสาวกองค์ไหน เมื่อสรุปแล้วจะเห็นว่า พุทธสาวกจำนวน ๘๐ องค์ พระเอตทัคคะ ๔๑ องค์นั้น มีเพียงพระสังกัจจายน์ เท่านั้นที่สร้างอย่างโดดเด่น คติการสร้างพระสังกัจจายน์นิยมการสร้างมาก พระสังกัจจายน์จีน แบบมหายาน หินยาน โดยเฉพาะแบบจีน พระสังกัจจายน์จีนนิยมสร้างมากกว่าในเมือง โดยมีคติความเชื่อที่ว่า "ผู้ใดบูชาพระสังกัจจายน์ ย่อมเป็นมหามงคลอุดมด้วย ลาภ ยศ ความเจริญรุ่งเรืองดีนักแล"

พระมหากัจจายนะเกิดในตระกูลพราหมณ์ตระกูลหนึ่งในกรุงอุชเชนี ได้รับการศึกษาในทางไตรเพทเวทมนตร์ตา7 คนได้อาราธนาพระพุทธเจ้าให้ทรงแสดงธรรมเทศนา และได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในระหว่างฟังธรรมนั้นเอง หลังจากนั้นท่านจึงทูลขออุปสมบทต่อพระพุทธเจ้า และเผยแผ่ศาสนาพุทธอยู่ในแคว้นอวันตีจนมีผู้เข้ามาเป็นสาวกในพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก

พระสังกัจจายน์ เป็นพระพุทธสาวกที่มีความเฉลียวฉลาดมีความรู้ และเป็นที่โปรดของพระพุทธองค์ยิ่งมีบารมี มีอิทธิฤทธิ์ ผู้ใดบูชาพระสังกัจจายน์ จึงได้รับพรจากพุทธสาวก อันเป็นเอตทัคคะอย่างสมบูรณ์ เมื่อพูดถึงเรื่องโชคลาภแท้ที่จริงแล้วชาวพุทธเราจำนวนไม่น้อยต่างได้ลาภอันประเสริฐกันทุกคน ลาภอันประเสริฐที่ว่าคือ "ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ" นั่นเองตามบาลีที่ว่า "อโรคฺยาปรฺมา ลาภา"

ทั้งนี้ พระพุทธเจ้าทรงเน้นเรื่องโรคทางใจมากกว่าเรื่องโรคทางกายพระองค์สรุปว่า "ผู้ที่ไม่มีโรคทางกายเป็นเวลาหลายปีนั้นพอหาได้ แต่ผู้ที่ไม่มีโรคทางใจแม้เพียงชั่วเสี้ยวนาที ก็หาได้ยาก" จึงมีคำกล่าวตามมาที่ว่า "ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ" เช่นกันมอย่างตระกูลพราหมณ์ทั้งหลาย ท่านเป็นศิษย์ของอสิตดาบสแห่งเขาวินธัย (ผู้ทำนายว่าเจ้าชายสิทธิตถะจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิหรือพระพุทธเจ้าในอนาคต) พระมหากัจจายนะพร้อมด้วยมิตรอีก